วิธีทำ favicon
1. เปิดภาพขึ้นมาก่อน ด้วยโปรแกรม photoshop (ภาพนี้มาจาก emotion ใน msn )
2. กำหนดภาพมาให้มีขนาด 16×16 pixel กด ok ไป
จากนั้นก็ save ภาพเป็น .gif ให้มีพื้นหลังเป็น transparent
จากนั้นก็ save ภาพเป็น .gif ให้มีพื้นหลังเป็น transparent
3.เข้าไปที่ web graphicsguru click ที่ online favicon generator ตามภาพเลย
4. (1) browse ภาพที่เราทำไว้ขึ้นมา
(2) กด generate
(3) กด download ก็จะได้ไฟล์รูปส้งตีนชื่อ “favicon.ico” มาอยู่ในเครื่องแล้ว
(2) กด generate
(3) กด download ก็จะได้ไฟล์รูปส้งตีนชื่อ “favicon.ico” มาอยู่ในเครื่องแล้ว
5. หลังจากเราได้ไฟล์ favicon.ico มา ให้หา host ฝากไฟล์ที่รองรับไฟล์นามสกุล .ico เอาไฟล์นี้ไปฝากไว้ที่ host ของเพื่อน
6. ขั้นตอนสุดท้าย ก็ใส่โค้ด นี้ในส่วน manage > links
*yourhost นะครับฝากไว้ที่ไหนก็ใส่ path ให้ถูกต้อง
6. ขั้นตอนสุดท้าย ก็ใส่โค้ด นี้ในส่วน manage > links
*yourhost นะครับฝากไว้ที่ไหนก็ใส่ path ให้ถูกต้อง
การทำภาพสไลด์
1.การทำภาพสไลด์ต้องอาศัย โค้ดสองส่วนด้วยกันคือ java script ซึ่งเป็นส่วนควบการทำงานหลักของการสไลด์ภาพ และ CSS เป็นส่วนของการจัดรูปแบบในการนำเสนอภาพให้มีความสวยงามเหมาะสมตรงตามความต้องการที่ผู้จัดทำต้องการนำเสนอ
2.เตรียมรูปภาพที่ต้องการนำไปทำสไลด์ รูปภาพที่เราจะนำไปทำสไลด์นั้นควรมีขนาดของรูปภาพเท่ากันทุกรูป สิ่งนี้จำเป็นเพราะจะทำให้ภาพที่สไลด์ออกมานั้นมีความสวยงามสม่ำเสมอ และอีกอย่างที่จะต้องเตรียมก่อนทำภาพสไลด์นี้ก็คือ ไฟล์ ที่ควบคุมการทำงาน(Java Script) จำนวน 2 ไฟล์(jquery.js, easySlider1.7.js) และไฟล์ css 1 ไฟล์(screen.css)
3.เมื่อเตรียมสิ่งที่กล่าวมาในข้างต้นเรียบร้อยแล้ว เราก็ลงมือเขียนโค้ดได้เลย และในส่วนของการเขียนโค้ดลงไปนั้นจะมีอยู่สองส่วนด้วยกันคือ
3.1เขียนโค้ดลงไปในส่วนของ Head (<Head> ...โค้ด... </Head>) ซึ่งเป็นส่วนของการกำหนดค่าการทำงานต่างๆ โดยโค้ดที่จะต้องนำไปเขียนไว้ในส่วนนี้ก็คือ
การ import ไฟล์ CSS เข้ามา
<link href="../css/screen.css" rel="stylesheet" type="text/css" media="screen" />
การ import ไฟล์ java script ที่เตรียมไว้เข้ามาใช้
การ import ไฟล์ java script ที่เตรียมไว้เข้ามาใช้
<script type="text/javascript" src="../js/jquery.js"></script>
<script type="text/javascript"src="../js/easySlider1.7.js"></script>
· เขียนโค้ด java script เพิ่มเติมเพื่อสั่งให้มีการทำงาน โดยพิมพ์ตามด้านล่างนี้
<script type="text/javascript">
$(document).ready(function(){
$("#slider").easySlider({
auto: true, //ภาพสไลด์เองอัตโนมัติ(True)
continuous: true,//การกำหนดให้มีการวนภาพซ้ำ(Repeat)
numeric: true//เมื่อกดตัวเลขภาพจะสไลด์ตามลำดับตัวเลขนั้น
});
});
</script>
3.2เขียนโค้ดลงไปในส่วนของ body(<body>...โค้ด...</body>)เพื่อให้แสดงผล(ให้เขียนโค้ดตรงตำแหน่งตามที่ต้องการให้แสดงผล) โค้ดดังกล่าวดูไปจากด้านล่างนี้
<div id="container">
<div id="header">//กำหนดส่วนหัวของรูป
<h1>ข้อความที่เป็นห้วข้อของรูปที่สไลด์</h1>
</div>
<div id="content">
<div id="slider">//ส่วนของภาพที่นำไปทำสไลด์
<ul>
<li><a href="#ลิงค์"><img src="รูปที่ 1(image1.jpg)" alt="คำอธิบายแทนภาพ" /></a></li>
<li><a href="#ลิงค์"><img src="รูปที่ 2(image2.jpg)" alt="คำอธิบายแทนภาพ" /></a></li>
.
.
.
</ul>
</div>
</div>
</div>
- ใส่ Keywords หลัก ๆ ลงบน Title เพราะเป็นพื้นที่ที่ระบบ Search Engine ใช้ในการเข้ามา index ข้อมูลอันดับแรก ๆ
- ใช้ tag Heading (พวก <h*></h*> ต่าง ๆ) ให้เป็นประโยชน์เพื่อให้ Search Engine นั้นเข้าถึงข้อมูลสำคัญ ๆ ในส่วนนี้ก่อนเสมอ เพราะ Search Engine จะมองว่า Heading เป็นเหมือนหัวหลักของเนื้อหาเพื่อนำไปใช้สรุปเนื้อหาตอนค้นหาต่อไป
- ใช้ alt, title, id, class และพวก caption ต่าง ๆ ที่ใช้อธิบายข้อมูลนั้น ๆ เพราะ Search Engine ไม่เข้าในว่ารูปภาพ หรือข้อมูลพวก Binary ต่าง ๆ ว่ามันคืออะไร
เช่น <img src=”dog.jpg” alt=”Dog jumping into the air” /> - ใช้ META Tag ถึงแม้ว่า META Tag จะเป็นเทคนิคเก่า ๆ นับตั้งแต่มี WWW แต่ก็เป็นการดีที่เราควรจะมีไว้ เพราะ Search Engine ยังคงใช้ข้อมูลนี้เพื่อการจัดอับดับข้อมูลของเรา ในกรณีที่ข้อมูลในหน้านั้น ๆ มีมากเกินไป
- ใช้ Sitemapโดยการสร้าง Sitemapนั้นมีเครืองมือให้ใช้อยู่มากมาย และยิ่งใช้พวกCMS/Blogware ต่าง ๆ พวก Drupal, WordPress, XOOP, Joomla/Mambo, PHP-nuke ฯลฯ ก็มี module/component/plug-in เข้ามาช่วยสร้าง Sitemap ให้แทบทั้งนั้น โดยประโยชน์ของ Sitemap นั้นช่วยให้ตัว Search Engine นั้นไม่ต้องวิ่งไต่ไปตามลิงส์ต่าง ๆ ของเว็บของเราเพื่อเข้าถึงข้อมูลทั้งหมด และยิ่งเว็บมีขนาดใหญ่และซับซ้อนมาก ๆ ยิ่งทำให้หน้าที่อยู่ในส่วนของรากลึก ๆ ต้นไม้ที่เป็นลำดับของลิงส์นั้นเข้าถึงยาก การมี Sitemap จึงช่วยในการบ่งบอกกับ Search Engine ได้ว่าเว็บของเรามีหลายอะไรอยู่บ้าง เพื่อให้ตัว Search Engine เข้ามา Index ข้อมูลได้รวดเร็วและสะดวกขึ้น
- ทำ URL Friendly หรือ Rewrite URL การทำ URL Friendly นั้นช่วยให้ Search Engine เข้าใจ URL ของเราและทำให้การเก็บ URL และแสดงผล URL เพื่อลิงส์กลับมาหน้าต่าง ๆ ของเว็บเรานั้นทำได้ง่ายมากขึ้น